TOPIC REVIEW
การใช้ยาลดน้ำหนักในการรักษาโรคอ้วน

ความก้าวหน้าทางการแพทย์
ค้นพบพันธุกรรมของโรคอ้วน (ob gene) การค้นพบสารพันธุกรรมของamphetamine
ที่มีฤทธิ์ข้างเคียงน้อยกว่า กลไกการควบคุมความหิวและอิ่มในสัตว์ชั้นสูงค่อนข้างซับซ้อน
และมีสารต่างๆ มากมายมาเกิ่ยวข้อง แต่กลไกหลักอยู่ที่สมองซึ่งได้แก่
ศูนย์ควบคุมความหิวและอิ่มที่ไฮโปธาลามัส โดยที่สารที่มีบทบาทสำคัญ 2 ตัวคือ
1. noradrenaline
2. serotonin

การแบ่งกลุ่มยา
1. ออกฤทธิ์ยับยั้ง cathecholamine ได้แก่
* diethylpropion (Apisate)
* phentermin (Ionamin)
* mazindol
* phenylpropanolamine (Fansia)
2. ออกฤทธิ์ยับยั้ง serotonin ได้แก่
* fenfuramine (Ponderal)
* dexfenfuramine (adifax)
* fluoxetin ( Prozac)

DIETHYLPROPION (apisate 75 mg-บ.trenker)
* พบว่า ยา 75 มก./วัน มีผลลดความอยากอาหาร
* มีการทดลองเทียบกับ placebo มีประสิทธิภาพในการลดน้ำหนัก
แต่หลังหยุดยาผู้ป่วยพบความยากลำบากในการปรับพฤติกรรมการรับประทาน
* การให้ยา intermittent ได้ผลดีเท่ากับ continuous
* เทียบกับ fenfluramine ได้ผลพอๆกัน

PHENTERMINE (panbesy 15 mg-บ.eurodrug)
(ionamin 15 mg-บ.olic) (duromine 15 mg-บ.3M pharm)
* พบว่า ยา 30 mg ในรูป sustain-release ได้ผลดีในการลดน้ำหนัก
ทั้งการรักษาแบบ intermittent และ continuous
(Monro ทดลอง ใน 9 เดือนร่วมกับควบคุมอาหาร 1800-1900 cal/Day
ลดน้ำหนัก 12.2-13 กก.)
* ผลการลดน้ำหนักในช่วง 4 เดือนหลัง นน.ลดลงไม่มาก
* เทียบกับ fenfuramine ได้ผลดีพอกัน

MAZINDOL
* 2 mg.@ ac เที่ยง 1 hour 12 week ลดน้ำหนักได้มากกว่า placebo
(1.4 ต่อ 0.3 กก.)
* ลดน้ำหนักได้ พอๆกับ fenfuramine
* ไม่ทำให้เกิดการเสพติด
* น้ำหนักจะลดลงมากในช่วง สัปดาห์ที่ 6 แต่สัปดาห์ที่ 2 หลังหยุดยามี
rebound นน.เพิ่มขึ้นเท่า กลุ่ม placebo

PHENYLPROPANOLAMINE (fansia -บ.eurodrug)
* เป็นยาที่ใช้กันมานาน มีขายในร้านขายยาทั่วไป
* ประสิทธิภาพในการลดน้ำหนักน้อย
* มีผลข้างเคียงต่อหลายโรค (HT CVA epilepsy anxiety psychosis )
แต่มี 2 รายงานไม่พบการเปลี่ยนแปลงในแง่ BP หรือ heart rate
* อาจเสพติดได้

FENFLURAMINE (ponderal 60 mg-บ.servier) (fenbesy 60mg - บ.eurodrug)
* ขนาด 60 มก.มีประสิทธิภาพในการลดน้ำหนัก
* เทียบกับ diethypropion or phentermine ได้ผลพอๆ กัน
* เมื่อใช้ยาในระยะยาว เกิน 6 เดือน มีเพียง 50% ที่ยังรักษาน้ำหนักเดิมไว้ได้
* การให้วันละครั้ง กับ วันละหลายครั้ง ผลไม่ต่างกัน
* side effect : Primary pulmonary hypertension
พบ 6 % (dexfenfluramine 23%)

DEXFENFLURAMINE (adifax 15 mg -บ.servier)
* ผลระยะสั้น Finer และคณะ พบว่า 15 mg bid สามารถลดน้ำหนักได้ดี
เมื่อเทียบกับ placebo (5.3 กก./1.4กก.)
Enzi และคณะ พบว่า 30 mg bid ลดได้ 8.1 กก./ 3.5 กก.
* ผลการใช้มากกว่า 6 เดือน หลายรายงานพบว่า สามารถควบคุม นน.ได้ดี
* น้ำหนักขึ้นมาปกติหลังจากหยุดยา ในเวลา 2-5 เดือน
* side effect ที่สำคัญคือ primary pulmonary hypertension พบมากถึง23%
ทำให้ยานี้ถูกระงับการใช้

FLUOXETIN (prozac)
* FDA-USA ยังไม่รับรองการใช้ให้ลดความอ้วน
* มีหลาย study ให้ยา 60 mg/day ใน 12 เดือน พบว่า สามารถลดน้ำหนัก
อย่างมีนัยสำคัญ โดยลดมากในช่วง เดือนที่ 5-6 หลังจากลดได้น้อยลง
* ลดน้ำหนักใน ผู้ป่วยกลุ่มที่มี BMI สูงกว่าได้มากกว่า
* side effect: asthenia นอนไม่หลับ คลื่นไส้ diarrhea เหงื่อออกมาก มือสั่น ปวดท้อง sexual dysfunction

เรียบเรียงจากจุฬาอายุรศาสตร์ เล่มที่....